top of page
Search

ยกตัวอย่างเช่น รถเมล์เชียงใหม่ RTC Chiangmai City Bus

  • Writer: จ๊ะ เอ๋
    จ๊ะ เอ๋
  • Feb 9, 2021
  • 1 min read

สมัยก่อนถ้าจะเช็กพิกัดรถเมล์ต้องดาวน์โหลดแอปฯ CM Transit by RTC สำหรับคนกรุงเทพฯ ที่ไม่ได้ขึ้นมาเชียงใหม่บ่อยครั้งอาจจะหนักเครื่อง


กระทั่ง RTC Chiangmai City Bus เข้าร่วมแอปฯ เวียบัส ทำให้เวลาขึ้นมาที่เชียงใหม่ ลงเครื่องที่สนามบินเรียบร้อยแล้ว เราสามารถเช็กพิกัดรถเมล์ได้ในแอปฯ เดียวกัน ไม่ต้องเปิดแบบต่างคนต่างแอปฯ ให้หนักเครื่องอีกต่อไปและยังนำรถประจำทาง RTC Nonthaburi City Bus สาย 6028 วงกลมราชพฤกษ์-ติวานนท์-ท่าน้ำนนทบุรี เข้าร่วมแอปฯ เวียบัส อำนวยความสะดวกแก่ชาวจังหวัดนนทบุรีอีกทางหนึ่งด้วย

เป็นเรื่องน่ายินดีที่เวียบัสขยายบริการมายังต่างจังหวัด นอกจากช่วยพัฒนาชีวิตของชุมชนเมืองให้สะดวกสบายแล้ว ยังส่งเสริมการท่องเที่ยวให้กับเมืองหลัก โดยใช้รถเมล์และรถโดยสารสาธารณะอื่นๆ ไปยังแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ อีกด้วยสิ่งที่น่าคิดก็คือ คาสิโนออนไลน์ ได้ตังดี คือ ในปัจจุบันนี้หลายภาคส่วนกำลังพัฒนาเทคโนโลยีแบบ “ต่างคนต่างทำ” โดยยึดหลักเป็นขององค์กรตัวเองมากเกินไป แทนที่จะพัฒนาร่วมกับพันธมิตรโดยเชื่อมต่อข้อมูลร่วมกัน






ยกตัวอย่างเช่น ระบบกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Wallet) พบว่ามีผู้ประกอบการมากถึง 23 ราย แล้วต่างฝ่ายต่างก็มีวอลเลตแยกกัน เช่น กลุ่มทรูเจ้าหนึ่ง กลุ่มบีทีเอสเจ้าหนึ่ง กลุ่มเซ็นทรัลเจ้าหนึ่ง แทนที่สะดวกกลับทำให้สับสน เลือกใช้ไม่ถูก


สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัด คือ รถเมล์ขอนแก่นที่ชื่อว่า “ขอนแก่นซิตี้บัส” (Khon Kaen City Bus) ยังคงใช้แอปพลิเคชัน KK Transit ะแสดงตำแหน่งของรถบัสทุกคัน แต่คนที่ไม่มีแอปฯ ก็ยังมีเช็กทางหน้าเว็บไซต์


ล่าสุดทราบมาว่า ขสมก. เตรียมเปิดให้บริการแอปฯ รถเมล์เป็นของตัวเอง ในชื่อว่า “ซิตี้โก” (City Go) อ้างว่าจะแสดงผลรถเมล์แต่ละสายจะถึงป้ายในเวลากี่นาที รถเมล์สายไหนบ้างจอดป้ายนี้ คาดว่าในอีก 2-3 เดือนจะเปิดให้ดาวน์โหลด.กล่าวว่า เอกชนจะเป็นผู้ลงทุนพัฒนาแอปฯ โดยมาขอสิทธิ์ใช้ข้อมูลรถเมล์จาก ขสมก. ซึ่งจะเก็บค่าใช้จ่ายในการใช้ข้อมูลเป็นรายปี แม้จะไม่บอกว่าเป็นใคร แต่พอทราบว่า เป็นเจ้าของป้ายโฆษณาและสื่อโฆษณาบนรถเมล์รายหนึ่ง

แถมเป็นผู้ประกอบการเดินรถเมล์อย่างน้อย 2 บริษัท บริษัทหนึ่งเป็นรถเมล์เอ็นจีวีสีเหลือง สภาพเก่าและโทรม อีกบริษัทหนึ่งเพิ่งไปซื้อรถเมล์จากเอกชนรายหนึ่งมาให้บริการในโซนกรุงเทพเหนือ ซึ่งทั้งคู่ยังไม่มีแสดงผลผ่านเวียบัสแต่อย่างใดแม้ ขสมก. ASIAX8 กับภาคเอกชนออกมาพัฒนาแอปฯ รถเมล์เป็นของตัวเองนั้นเป็นเรื่องที่ดี แต่ก็ขอว่าอย่าให้ถึงกับกลายเป็นการ “กีดกันทางการค้า” กับผู้พัฒนาระบบรายอื่น แต่ขอให้เป็นทางเลือกแก่ผู้โดยสารตามสะดวก



อีกอย่างหนึ่งที่น่าคิดก็คือ แม้กรมการขนส่งทางบกจะบังคับให้รถโดยสารสาธารณะติดจีพีเอส แต่ก็พบว่ารถร่วมบริการ ขสมก. นอกจากจะเก่าแล้ว ส่วนใหญ่ยังไม่ติดจีพีเอส ถึงมีแต่น้อยบริษัทที่ยอมเชื่อมต่อข้อมูลให้ประชาชนตรวจสอบขนาดรถตู้ ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จัดระเบียบแทบตาย กรมการขนส่งทางบกบังคับให้เปลี่ยนเป็นรถมินิบัส ติดจีพีเอส แต่รถเมล์เอกชนร่วมบริการบางคัน เก่ายังไงก็เก่าอย่างนั้น ประชาชนก็ใช้บริการตามมีตามเกิด

 
 
 

Commentaires


Post: Blog2_Post
  • Facebook
  • Twitter
  • LinkedIn

©2021 by kitty11jan. Proudly created with Wix.com

bottom of page